ในการทดลองเครื่องยิงโปรเจคไทล์ ได้ทำการทดสอบค่านิจของสปริงเพื่อไปกำหนดแรงยิง ของเครื่องยิงโปรเจคไทล์และตรวจสอบความแม่นยำของเครื่องยิงโปรเจค์ไทล์ โดยการทดลองจะทดลองยิงที่ ระดับแรงต่าง ๆ และมุมต่าง ๆ ซึ่งผลการ
ทดลองแบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 ผลการทดลองการหาค่า
นิจของสปริง
ตอนที่ 2 ผลการทดลองยิงเครื่องยิง
โปรเจคไทล์ที่ระดับแรง 2, 4, และ 6 N ที่
มุม 30 ํ, 37 ํ, 45 ํ, 53 ํ และ 60 ํ
ตอนที่ 1 ผลการทดลองการหาค่านิจของสปริง
ผลการทดลองการหาค่านิจของสปริงแบ่งออกเป็น ผลการทดลองการหาค่านิจของสปริงด้วยวิธีการยืด และผลการ
ทดลองการหาค่านิจของสปริงด้วยวิธีการกดในการทดลองครั้งนี้ใช้ ค่าแรงโน้มถ่วงของโลกใช้ในการคำนวณในครั้งนี้คือ 10 m/s2หาค่านิจของสปริง k จาก k มีแรง F
รายละเอียดดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 ผลการทดลองการหาค่านิจของสปริงด้วยการยืด

จากตารางที่ 1 การทดลองการหาค่านิจของสปริงโดยวิธีการยืด พบว่าที่มวลตั้งแต่ 0.1 kg – 0.5 kg ค่านิจที่ได้จากการคำนวณทั้ง 5 ค่า คือ 40 N/m ผลเฉลี่ยจากการหาค่านิจของสปริงโดยวิธีการยืด คือ 40 N/m
ตารางที่ 2 ผลการทดลองการหาค่านิจของสปริงด้วยการกด

จากตารางที่ 2 ผลการทดลองการหาค่านิจของสปริงด้วยวิธีการกด
พบว่าที่ ระยะ 0.03 m, 0.06 m และ 0.12 m ค่านิจของสปริงที่ได้จากการทดลองทั้ง 3 ค่า คือ 40 N/m ที่ระยะ 0.09 m และ 0.15 m ค่านิจของสปริงที่ได้คือ 40.3 N/m และ 40.1 N/m ผลเฉลี่ยจากการหาค่านิจของ สปริงด้วยวิธีการกด คือ 40.08 N/m
จากการทดลองหาค่านิจของสปริงด้วยวิธีการยืด และวิธีการกด ค่านิจที่ได้จาก การทดลองมีค่าประมาณ 40 N/m จากนั้น ผู้วิจัยจึงนำค่านิจของสปริงที่ได้ในครั้งนี้ไป กำหนดระดับของแรงยิง
ตอนที่ 2 ผลการทดลองใช้เครื่องยิงโปรเจคไทล์ที่ระดับแรง 2 และ 4 N ที่มุม 30 ํ, 37 ํ, 45 ํ, 53 ํ และ 60 ํ
การทดลองในตอนที่ 2 เป็นผลการทดลองใช้เครื่องยิงโปรเจคไทล์ที่ระดับแรง 2, 4 และ 6 N ที่มุม 30 ํ, 37 ํ, 45 ํ, 53 ํ
และ 60 ํ ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตารางที่ 3 ผลการทดลองยิงเครื่องยิงโปรเจคไทล์ที่ระดับแรง 2 N ที่มุม 30 ํ ถึง 60 ํ

ตารางที่ 4 ผลการทดลองยิงเครื่องยิงโปรเจคไทล์ที่ระดับแรง 4 N ที่มุม 30 ํ ถึง 60 ํ

ตารางที่ 5 ผลการทดลองยิงเครื่องยิงโปรเจคไทล์ที่ระดับแรง 6 N ที่มุม 30 ํ ถึง 60 ํ
จากผลการทดลองในตารางที่ 3
พบว่าที่ระดับแรงยิงเท่ากับ 2 N เมื่อมุมการยิงที่เพิ่มขึ้นจาก 30 ํ เพิ่มขึ้นเป็น 60 ํ พบว่าเวลาที่ใช้ในการยิงเพิ่มขึ้น ระยะในแนวแกน x ที่ได้จากการทดลองพบว่าที่ 45 ํ ได้ระยะในแนวแกน x มากที่สุดเท่ากับ 0.18 m และจากตารางที่ 3 ทำให้ได้ความเร็วต้นที่เกิดขึ้นจากการยิงที่ระดับ 2 N โดยคำนวณ
จากสมการ Sx = ucos0t มีค่าเท่ากับ 1.24 m/s
จากผลการทดลองในตารางที่ 4 พบว่าที่ระดับแรงยิงเท่ากับ 2 N เมื่อมุมการยิงที่เพิ่มขึ้นจาก 30 ํ เพิ่มขึ้นเป็น 60 ํ พบว่าเวลาที่ใช้ในการยิงเพิ่มขึ้น ระยะในแนวแกน x ที่ได้จากการทดลองพบว่าที่ 45 ํ ได้ระยะในแนวแกน x มากที่สุดเท่ากับ 0.79 mและจากตารางที่ 3 ทำให้ได้ความเร็วต้นที่ เกิดขึ้นจากการยิงที่ระดับ 2 N โดยคำนวณ จากสมการ
Sx = นcos0tมีค่าเท่ากับ 4.07 m/s
จากผลการทดลองในตารางที่ 5 พบว่าที่ระดับแรงยิงเท่ากับ 2 N เมื่อมุมการ ยิงที่เพิ่มขึ้นจาก 30 ํ เพิ่มขึ้นเป็น 60 ํ พบว่า เวลาที่ใช้ในการยิงเพิ่มขึ้น ระยะในแนวแกน x ที่ได้จากการทดลองพบว่าที่ 45 ํ ได้ระยะ ในแนวแกน x มากที่สุดเท่ากับ 0.79 m และจากตารางที่ 3 ทำให้ได้ความเร็วต้นที่ เกิดขึ้นจากการยิงที่ระดับ 2 N โดยคำนวณ จากสมการ
Sy = ucos0t มีค่าเท่ากับ 5.35 m/s ซึ่งสอดคล้องกับเนื้อหาในทฤษฎี การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
สรุปผลการทดลอง
งานวิจัยนี้ได้พัฒนาอุปกรณ์การเรียนการสอนชุดการทดลองการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์แบบการปรับมุมการยิงอัตโนมัติในครั้งนี้ ได้แบ่งการทดลองออกเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วยส่วนของการออกแบบชุดทดลอง ส่วนการสร้างชุดทดลอง และส่วนของการทดสอบ โดยในการพัฒนาอุปกรณ์การเรียนการสอนชุดการทดลองการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์นครั้งนี้พบว่าสปริงที่ใช้ในการยิงวัตถุมีค่านิจของสปริงเฉลี่ยเท่ากับ 40 N/m และเครื่องยิงวัตถุเพื่อให้มีการเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์สามารถปรับมุมได้ คือ 30 ํ, 37 ํ, 45 ํ, 53 ํ,